Srinakharinwirot University SWU, FASH 14 THE graduate Fash Presentation นิสิตวิชาเอกการออกแบบแฟชั่น ชั้นปีที่ 4 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ TCDC.
Thammasat University TU, Irradiation Pastraporn 15 งานแสดงศิลปนิพนธ์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ irradiation pastraporn15 ลานอิเดน ศูนย์การค้าเซนทรัลเวิร์ล
Rangsit University Rangsit RSU. Irresistible 10 at ZEN. โครงการศิลปนิพนธ์ สาขาแฟชั่นดีไซร์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัย รังสิต ของ นักศึกษาปีที่ 4 ปีจบการศึกษา 2556 โดยปีการศึกษานี้ นำเสนอผลงานแฟชั่นโชร์ จำนวน 40 ดีไซเนอร์ 40 คอลเลคชั่น โดยนำเสนอ เสื้อผ้าสตรี จำนวน 38 คอลเลคชั่น เสื้อผ้าบุรุษ 1 คอลเลคชั่น และเสื้อผ้าเด็ก 1 คอลเลคชั่น
Chulalongkorn University Creative Arts 26th Thesis Exhibition Systhesis 2014 นิทรรศการแสดงโครงการศิลปนิพนธ์ ของนิสิตชั้นปีที่ 4 ภาควิชานฤมิตศิลป์ รุ่นที่ 26 คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 6-8 มีนาคม สยามดิสคัฟเวอรี่ ชั้น G
Others fashion school and university (i did not go) are Silpakorn University, : Chulalongkorn University, MFA, Thanyaburi, RMUTT, and all Rajamangala University na ka.
my review in facebook : ถูกเชิญให้ไปดูโชว์ผลงานเรียนจบ ของหลายๆสถาบันมาเป็นเวลาหลายปี ต้องบอกว่าคราวนี้ประทับใจมาก มีพัฒนาการก้าวหน้าขึ้นเรื่อยๆ อนาคตแฟชั่นของบ้านเรารุ่งแน่นอ น. แต่ ที่หนีไม่พ้นคือ 1เรื่องการเปรียบเทียบผลงานในรุ ่นเดียวกัน 2 เรื่องการลอกการบ้านกัน (สถาบันเดียวกันสไตล์เดียวกัน) 3 แนวความคิดดีไซน์ออกแบบที่ดู "reference" จากเทรนด์โลก แต่พยายามไปโยงกับความเป็น "ไทย" ทำไม ทำไม ทำไม
วงการแฟชั่นไทยตอนนี้ขาดอะไร? ในขณะที่มีแบรนด์เสื้อผ้าใหม่ๆอ อกมาเรือยๆและเด็กจบแฟชั่นทุกปี ดีไซนเนอร์หน้าใหม่เหล่านี้อยู่ กันได้หรือเปล่า? เข้าใจเรื่องระบบการตลาดและการล งทุนพอไหม? ในเมื่อการแข่งขันมันมีมากขึ้นใ นปจุบัน จำนวนผู้บริโภกก็มีเพิ่มขึ้น ส่วนแบ่งทางการตลาดมีมากขึ้น แล้วนักลงทุนหละมีพอมัย? ดีไซนเนอร์ต้องทำงานแข่งขันกับต ัวเองหรือเอาใจตลาดอยู่ ถ้าปรับงานให้งานของตัวเองดูเป็ น"สากล" แล้วจะขาดความเป็นไทยหรือสูญเสี ยความเป็นตัวของตัวเองมัยในขณะท ี่ identity เป็นสิ่งสำคัญในตอนนี้. นักลงทุนเข้าใจตัวเองหรือเข้าใจ การทำงานของดีไซเนอร์มากน้อยเท่ าไหร่. คำถามๆๆ การพูดคุยเจรจา "สไตล์" ของแต่หละคนที่แตกต่างกับการทำง านและเวลา ตอนนี้อาจเป็นสิ่งสำคัญที่สุดที ่แฟชั่นไทยตอนนี้ต้องการ.
comments
Krish bkk Tha : ส่วนตัวคิดว่าระบบการศึกษาFashion Thai ยังมีจุดบอด นักเรียนและผู้สนใจยังเข้าไม่ถึงว่า เป็นFashion Designer คืออะไร ต้องมีหรือใช้องค์ความรู้ อะไรบ้าง เพื่อเข้าสู่ระบบFashion Industrial จึงพบจุดด้อยดังนี้
1.พวกเรียนออกแบบจะไม่เก่งตัดเย็บ และ Pattern
2.นร.ที่เรียนตัดเย็บก็ออกแบบไม่เป็น
PS.(1และ2ต้องเรียนการประยุกต์)
3.หลายพวกอาจจะ งงกะ Fashion vs Styling??
4.ยังไม่สามารถเข้าถึง Technology+Machine in Fash system
5.ไม่รู้ลึก เรื่อง Material n Textile..Gosh
6.ขาดการสื่อสารกะ สากล
7.นร.มักจะไม่สนใจ World of Art n Fash_History...Structure &Style
8.ส่วนมากไม่เก่งคำนวณ และ การขาย Visual n Merchandising
1.พวกเรียนออกแบบจะไม่เก่งตัดเย็บ และ Pattern
2.นร.ที่เรียนตัดเย็บก็ออกแบบไม่เป็น
PS.(1และ2ต้องเรียนการประยุกต์)
3.หลายพวกอาจจะ งงกะ Fashion vs Styling??
4.ยังไม่สามารถเข้าถึง Technology+Machine in Fash system
5.ไม่รู้ลึก เรื่อง Material n Textile..Gosh
6.ขาดการสื่อสารกะ สากล
7.นร.มักจะไม่สนใจ World of Art n Fash_History...Structure &Style
8.ส่วนมากไม่เก่งคำนวณ และ การขาย Visual n Merchandising
Mark maruwur : การศึกษาสำคัญมากค่ะ โครงสร้างหลักสูตรการเรียน โดยเฉพาะแฟชั่น ควรมีการปรับเปลี่ยนอยู่เรือยๆ commonsense ก้อสำคัญพอๆกัน แต่ทุกวันนี้ดูเหมือนคนจะไม่ค่อยมี commonsenseเท่าไหร่
Krish bkk Tha : ตอนนี้ พบมากคือ
1.สถาบันต่างๆสร้างภาพขายฝัน(เขาอาจมองนักเรียนเป็นลูกค้า??)ทำการตลาดภาพสวยๆด้านเดียว.ลองถามพวกที่เรียนFashion ดิโหดขนาดใหน! โฆษณาชวนเชื่อเกินงาม เข้าสู่โลกวัตถุนิยมกันเกินไปแล้ว นับจาก BKK Fashion City เป็นต้นมา
2.ครูผู้รู้ขาดแคลน รร.ต่างล้วนมีข้อดี แต่ไม่ยอมแบ่งปัน กลัวเสียฐานลูกค้า...
เช่น รร.กลุ่มราชมงคลฯจะเก่งตัดเย็บ ก็ตะบันสร้างแต่ช่างเย็บ...เย็บสวย..เรียบร้อย..แต่เชย...นร.จบไปก็เข้าอยู่ฝ่ายห้องเย็บ...
รร.สอนออกแบบก็ใช้จักร์เย็บผ้าไม่เป็น
แถมทั้งหมด ไม่ยอมเรียน Computer Graphic?
ไม่ยอมอ่านหนังสือ และเข้าห้องสมุด...คงต้องปรับกันอีกยาว..ทำหน้าที่ให้ดัที่สุดครับ(*_*)
1.สถาบันต่างๆสร้างภาพขายฝัน(เขาอาจมองนักเรียนเป็นลูกค้า??)ทำการตลาดภาพสวยๆด้านเดียว.ลองถามพวกที่เรียนFashion ดิโหดขนาดใหน! โฆษณาชวนเชื่อเกินงาม เข้าสู่โลกวัตถุนิยมกันเกินไปแล้ว นับจาก BKK Fashion City เป็นต้นมา
2.ครูผู้รู้ขาดแคลน รร.ต่างล้วนมีข้อดี แต่ไม่ยอมแบ่งปัน กลัวเสียฐานลูกค้า...
เช่น รร.กลุ่มราชมงคลฯจะเก่งตัดเย็บ ก็ตะบันสร้างแต่ช่างเย็บ...เย็บสวย..เรียบร้อย..แต่เชย...นร.จบไปก็เข้าอยู่ฝ่ายห้องเย็บ...
รร.สอนออกแบบก็ใช้จักร์เย็บผ้าไม่เป็น
แถมทั้งหมด ไม่ยอมเรียน Computer Graphic?
ไม่ยอมอ่านหนังสือ และเข้าห้องสมุด...คงต้องปรับกันอีกยาว..ทำหน้าที่ให้ดัที่สุดครับ(*_*)
No comments:
Post a Comment